คราฟต์เบียร์ไทย จะรอดได้ยังไง เมื่อทำการตลาดแล้วผิดกฎหมาย?
คราฟต์เบียร์ไทย จะรอดได้ยังไง เมื่อทำการตลาดแล้วผิดกฎหมาย?
ในมุมนักการตลาด คราฟต์เบียร์ไทยจะรอดได้ยังไง เมื่อทำการตลาดแล้วผิดกฎหมาย ! โดย คุณส้ม สีตลา ชาญวิเศษ ที่ปรึกษาด้านธุรกิจและการตลาด บริษัท Group B Beer และเจ้าของแบรนด์ Motto Beer
ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าการทำธุรกิจ กฏหมาย และการทำการตลาด ไม่เคยแยกออกจากกัน แต่ยกเว้นกับวงการเบียร์ไทย และวันนี้เพจเราเลยขอเสนอมุมมองเหล่านี้ ให้ทุกคนได้ลองนำไปคิดและคราฟต์กัน
จากตลาดบูมสู่ยุคอยู่ตัว
จะถือว่าเป็นเรื่องดี…ก็พูดได้ไม่เต็มปาก...
B:A:S Beef Alternative Service จากธุรกิจจักรยานสู่ธุรกิจเนื้อ เพราะวิกฤตมันบังคับให้เราต้องเปลี่ยน
B:A:S Beef Alternative Service จากธุรกิจจักรยานสู่ธุรกิจเนื้อ เพราะวิกฤตมันบังคับให้เราต้องเปลี่ยน
ร้านสเต็กเนื้อระดับพรีเมี่ยม ที่พร้อมเสิร์ฟรสชาติระดับมิชลินสตาร์ถึงที่บ้าน ที่สามารถปรุงอาหารด้วยตัวเองที่บ้าน แต่ได้รสชาติสเต็กที่แสนพิเศษเหมือนกับกินอยู่ที่ร้าน ในราคาที่ถูกลง
จุดเริ่มต้นของ B:A:S (Beef Alternative Service) นั้นต้องย้อนความกันซักหน่อย มันเริ่มมาจาก คุณบาส-นพปฎล พิริยะกุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท พิริยะ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ที่เป็นที่รู้จักกันในธุรกิจจักรยานที่ค่อนข้างมีชื่อเสียงเลยในวงการนักปั่น
“คนเราเชี่ยวชาญเถิดจะเกิดผล”
คำสอนจากพ่อของคุณบาสที่อยู่ในหัวมาตั้งแต่เด็ก...
Better Moon café คาเฟ่กรีน ๆ ที่เชื่อว่า ‘สิ่งแวดล้อม’ กับ ‘ธุรกิจร้านอาหาร’ สามารถเดินไปด้วยกันได้
Better Moon café คาเฟ่กรีน ๆ ที่เชื่อว่า ‘สิ่งแวดล้อม’ กับ ‘ธุรกิจร้านอาหาร’ สามารถเดินไปด้วยกันได้
เรื่องของขยะกับธุรกิจร้านอาหารที่เรียกได้ว่าเป็นของคู่กันเลยก็ว่าได้ ที่สินค้าต้องสดใหม่ตลอดเวลา วันไหนขายไม่หมดก็ต้องทิ้ง นั่นทำให้ธุรกิจร้านอาหารเป็นหนึ่งในธุรกิจที่สร้างขยะมากที่สุด
ยิ่งการมาถึงของเดลิเวอรี นั่นยิ่งทำให้ทุกอย่างเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว ยิ่งร้านอาหารขายดีและขยายสาขามากเท่าไหร่ นั่นหมายถึงเรายิ่งสร้างขยะให้กับโลกมากขึ้นเท่านั้น
‘แล้วเราจะทำไงในเมื่อเราก็อยากจะขายดีขึ้น แต่เราก็ไม่อยากจะขึ้นชื่อว่าเป็นคนทำลายสิ่งแวดล้อม’
‘อยากจะกรีน แต่เห็นต้นทุนแล้วคิดหนัก’
นี่กลายเป็นประเด็นที่กลืนไม่เข้าคายไม่ออกของเราที่เจ้าของร้านอาหาร ไอ่รู้มันก็รู้แหละ รู้มาตลอด รู้อยู่เต็มอก โลกร้อน วิกฤตสิ่งแวดล้อม ขยะล้นเมือง...
ประชาคาเฟ่ เปลี่ยนโรงพิมพ์ 70 ปี เป็นคาเฟ่สร้างคอมมูนิตี้ ยกระดับชุมชนเก่าตลาดพลู
ตลาดพลู ย่านชุมชนเก่าแก่ที่เริ่มตั้งรกรากตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรี และรัตนโกสินตอนต้น ในอดีตย่านแห่งนี้เคยเป็นพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจอย่างหมาก และพลู ดำเนินมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อรถไฟสายท่าจีนมหาชัย ตัดผ่านมาถึงปากคลองสาน เพื่อขนส่งสินค้าประมง อาหารทะเล ของกินของใช้เข้ามาในกรุงเทพ ฯ ย่านตลาดพลูจึงเข้าสู่ยุคของการเป็นย่านการค้าที่สำคัญจนถึงปี พ.ศ. 2500
นอกจากประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ที่นี่ยังเป็นจุดเชื่อมของพหุวัฒนธรรมหลากหลายเชื้อชาติ ศาสนา ฉะนั้นเมื่อมาเยือนที่นี่ เราจะเห็นความหลากหลายในส่วนนี้สอดแทรกผ่านอาหาร อาคารบ้านเรือน จนถึงงานศิลปะและงานคาร์ฟที่กระจัดกระจายอยู่ตามส่วนต่าง ๆ ในย่าน
คุณมนตรี...
โต๊ะแดงบ้านอาจ้อ : โมเดลความยั่งยืนของร้านอาหาร บ้าน ชุมชน สู่วันที่กิจการเติบโตมากขึ้น
ในปี 2022 Torpenguin พาทุกคนไปรู้จักบ้านอาจ้อในฐานะร้านอาหารที่ได้รางวัลมิชลินด์ 2 ปีซ้อน และเป็นร้านที่บริหารจัดการทรัพยากรทุกอย่างได้อย่างคุ้มค่าในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเพื่อชุมชน เพื่อสังคม เพื่อสิ่งแวดล้อม และเพื่อความยั่งยืนของโต๊ะแดงบ้านอาจ้อ
จากวันนั้นถึงวันนี้ บ้านอาจ้อยังคงยึดมั่นในความตั้งใจและจุดยืนแบบเดิม เพิ่มเติมคือบ้านหลังนี้เติบใหญ่ขึ้นทั้งทางธุรกิจ และโมเดลความยั่งยืนที่อยากเห็นแนวคิดแบบเดียวกันถูกต่อยอดกับพื้นที่อื่น
เหล่านี้พิสูจน์แล้วว่าโมเดลธุรกิจที่คำนึงถึงสังคม ไม่เอารัดเอาเปรียบ และแบ่งปันชุมชน สามารถเติบโตอย่างยั่งยืนและมั่นคง ทั้งยังเป็นบางอย่างที่ยากจะมีร้านไหนลอกเลียนแบบได้
PART 1 : From Dining...
Mother Roaster ร้านกาแฟของป้าพิม มนุษย์วัยเกษียณที่ไม่เคยหยุดฝัน และมีอีก 167 ล้านสิ่งที่อยากทำ
Mother Roaster ร้านกาแฟของป้าพิม มนุษย์วัยเกษียณที่ไม่เคยหยุดฝัน และมีอีก 167 ล้านสิ่งที่อยากทำ
ถ้าขาดแรงบันดาลใจและความเชื่อมั่น ธุรกิจก็ไม่เกิด ถ้ามีธุรกิจแต่ขาดแรงบันดาลใจ ในท้ายที่สุดธุรกิจที่เราตั้งต้นมาด้วยไฟโชนแสง ก็อาจต้องปิดตัวลงตามเวลาของมัน
มีคนเคยบอกกับเราว่า ทุกอย่างที่ทำไม่มีอะไรการันตีว่าจะคงอยู่ตลอดไป วันนี้อาจเป็นยุครุ่งเรืองของเรา แต่ในอีก 10 ปีข้างหน้า ธุรกิจของเราอาจค่อย ๆ ถูกลืมเลือนไปตามเวลา เช่นเดียวกัน ในวันนี้อาจยังไม่มีใครเห็นในสิ่งที่เราตั้งใจทำ แต่ไม่แน่ว่า 10 ปีข้างหน้า...
Call Me Papa จากคนต้มเบียร์อยู่หลังบ้าน สู่การส่งออกไกลไปถึงยุโรป
Call Me Papa จากคนต้มเบียร์อยู่หลังบ้าน สู่การส่งออกไกลไปถึงยุโรป
วันนี้ขอพาเพื่อน ๆ ไปเปิดโลกของธุรกิจ “คราฟต์เบียร์” วงการที่เชื่อได้เลยว่าคนไทยไม่แพ้ชาติใดในโลก
มีแบรนด์คราฟต์เบียร์อยู่แบรนด์หนึ่งครับที่ทีมงาน Torpenguin รู้สึกสนใจในตัวเขามาก ๆ เขาเริ่มต้นจากการออกจากงานประจำที่รายได้ 6 หลัก ทิ้งทุกอย่างในชีวิตมาลงทุนกับการทำคราฟต์เบียร์จนตอนนี้นอกจากตลาดในไทยเบียร์แบรนด์นี้ยังเติบโตไปไกลถึงยุโรป เขามีแนวคิดแบบไหน อะไรคีย์ลับของความสำเร็จของแบรนด์นี้ไปรู้จักกับ พี่จิ๋ว - สราวุธ ประสิทธิ์ส่งเสริม เจ้าของแบรนด์ “Call...
เพราะ ‘ความแปลก’ คือจุดขายที่ตั้งใจ 10010bar ร้านคราฟต์ไอศกรีมที่เชื่อว่า ไอศกรีมเป็นได้ทุกรสชาติ
10010bar ร้านคราฟต์ไอศกรีมที่เชื่อว่า ไอศกรีมเป็นได้ทุกรสชาติ ‘ความแปลก’ คือจุดขายที่ตั้งใจ
ร้าน 10010bar เป็นร้านไอศกรีมโฮมเมดที่หลายคนอาจมีภาพจำจากความแปลกใหม่ของรสชาติไอศกรีมที่ไม่เหมือนใคร ซึ่งมีเจ้าของร้านคือคุณบอล - กิตติภูมิ หาญพัฒนกิจพานิช ที่คอยพัฒนา และทดลองในการทำไอศกรีมรสชาติใหม่ ๆ ขึ้นมาอยู่เสมอ ด้วยความเชื่อที่ว่า "ไอศกรีมนั้นเป็นได้ทุกรส”
เพราะขนม คือ วิทยาศาสตร์
คุณบอลเล่าให้เราฟังว่าจุดเชื่อมระหว่างคุณบอลและอาหารนั้นเกิดจากการที่คุณบอลได้ไปเรียนต่ออินทีเรียที่ต่างประเทศ เมืองที่มีเนื้อ นม ไข่ นั่นทำให้คุณบอลรู้สึกว่าขนมมันต้องอร่อยทุกร้าน จนสามารถเข้าร้านไหนก็ได้ แต่ในความเป็นจริงมันกลับไม่อร่อยเหมือนที่คิด
นั่นเป็นจุดเริ่มต้นให้คุณบอลเริ่มคิดอยากจะทำกินเอง...
Aircraft คราฟต์โคล่าไทย ที่เกิดจากความหลงใหลในน้ำซ่า
Aircraft คราฟต์โคล่าไทย ที่เกิดจากความหลงใหลในน้ำซ่า
“โคล่าเป็นรสชาติที่ซับซ้อนมาก”
นี่คือความรู้สึกที่ คุณกิฟ–ณัฐธิดา วงศ์มหาศิริ เจ้าของร้าน Aircraft มีต่อเครื่องดื่มสีดำที่ครองใจคนเกือบทั่วโลกอย่าง ‘โคล่า’ เพราะเมื่อเทียบกับเครื่องดื่มอย่างโซดาที่จัดเป็นน้ำซ่าเหมือนกัน อย่างเช่น โวดาส้ม เราดื่มปุ๊บจะรู้เลยว่านี่คือรสชาติของส้ม แต่โคล่านั้นไม่สามารถบอกได้ว่าคือ รสของอะไร? แต่เราทุกคนต่างก็รู้ดีว่านี่คือ ‘โคล่า’
ด้วยความหลงใหลใน โคล่า มาตั้งแต่วัยเด็ก คุณกิฟ–ณัฐธิดา วงศ์มหาศิริ จึงลองคราฟต์โคล่าเป็นของตัวเองขึ้นมา แล้วเริ่มต้นสร้าง Aircraft...
ยักษ์กะโจน ร้านอาหารที่ชวนคนกินมาร่วมแก้ปัญหาสุขภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อมไปพร้อม ๆ กัน
'ยักษ์กะโจน' ร้านอาหารที่ชวนคนกินมาร่วมแก้ปัญหาสุขภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อมไปพร้อม ๆ กัน
อีก 6 เดือนต่อจากนี้ ยักษ์กะโจน (อาจ) ต้องปิดตัวลง..
ยักษ์กะโจน มีผู้ร่วมก่อตั้ง 3 คน คุณหนาว - พิเชษฐ โตนิติวงศ์ อาจารย์ยักษ์ - วิวัฒน์ ศัลยกำธร และ คุณโจน...